เนื้อหาของบทความนี้จะเกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน หากคุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งานมาเรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งานในโพสต์ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่นี้.

ภาพรวมที่ถูกต้องที่สุดของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งานในทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่

ดูตอนนี้วิดีโอด้านล่าง

ที่เว็บไซต์Salcedo Marketคุณสามารถเพิ่มข้อมูลอื่นนอกเหนือจากสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งานสำหรับข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณ ที่เพจsalcedomarket.org เราอัปเดตเนื้อหาใหม่และถูกต้องทุกวันสำหรับคุณเสมอ, ด้วยความปรารถนาที่จะให้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุดแก่คุณ ช่วยให้ผู้ใช้อัปเดตข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตได้อย่างแม่นยำที่สุด.

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน

สตรีมนี้สร้างด้วย #PRISMLiveStudio

ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้องบางส่วนที่มีข้อมูลเกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน

ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่
ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่

นอกจากการหาข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้ ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่ สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่เพิ่มเติม

ข้อเสนอแนะบางประการเกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน

#ทางออกการโฆษณา #ตามประกาศสำนกงานคณะกรรมการอาหารและยา #ฉบบใหม.

[vid_tags].

ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่.

สํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน.

เราหวังว่าค่านิยมบางอย่างที่เรามอบให้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการอ่านสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งานเนื้อหาของเรา

25 thoughts on “ทางออกการโฆษณา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฉบับใหม่ | ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับสํา นักงาน อาหาร และ ยา สมัคร งาน

  1. ทนายแคท Kat lawyer says:

    #โฆษณาเกินจริง” มีกฎหมายเกี่ยวข้องหลายฉบับ อาทิ พ.ร.บ.อาหาร มาตรา 40 ห้ามไม่ให้ผู้ใดโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอันเป็นเท็จ หรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร ฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

    มาตรา 41 ผู้ใดประสงค์จะโฆษณาคุณประโยชน์ สรรพคุณของอาหารทางวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ สือออ
    นไลน์ หรือสื่ออื่น ๆ เพื่อประโยชน์ทางการค้า ต้องนำเสียง ภาพ คลิปวิดีโอหรือข้อความที่จะโฆษณาดังกล่าว
    ให้ผู้อนุญาตตรวจพิจารณาก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะโฆษณาได้ ฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
    5,000 บาท

    # การโฆษณาในลักษณะดังต่อไปนี้ สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องนำมาให้พิจารณา

    อนุญาตก่อน

    (1) การให้ข้อมูลทางวิชาการที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในทางการค้า และไม่มีความเชื่อมโยงทำให้เข้าใจว่าเป็นการโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารใด ๆ แต่ทั้งนี้การให้ข้อมูลทางวิชาการดังกล่าวต้องมีการให้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีหลักฐานอ้างอิง

    ที่เชื่อถือได้ เช่น แสดงทั้งข้อดี- ข้อเสีย ข้อควรระวัง เป็นต้น

    (2) การโฆษณาในลักษณะการเสนอภาพลักษณ์ของบริษัทหรือกิจการ (Corporate Image) (3) การโฆษณา เฉพาะที่เป็นลักษณะการโฆษณาที่เป็นการให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาหาร

    อาจใช้ข้อความตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ (ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

    เรื่อง หลักเกณฑ์การโฆษณาอาหาร พ.ศ. 2564)ข้อความใดข้อความหนึ่ง

    หรือหลายข้อความได้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุเท่านั้น

    ทั้งนี้ การโฆษณาตามวรรคหนึ่ง หากมีข้อความอื่นที่เป็นการโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ

    หรือสรรพคุณของอาหารร่วมอยู่ด้วย ต้องยื่นคำขออนุญาตโฆษณาอาหารพร้อมเอกสารประกอบ

    การพิจารณาการกล่าวอ้างข้อความโฆษณาทั้งหมด เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะโฆษณาได้

  2. Vongmon Thammavongsa says:

    สวัสดีทนายแคทกดแล้วนะค่ะ ไสเสื้อสวย ดู และฟัง จบนะ กฏหมายห้ามก้อเพาะว่าไนร่างกายของคนเรา แต่ละคนไม่เหมือนกัน ซะนั้นเขาจึงวางกดหมายออกมา บางคนก็ทานไม่ได้👍❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️

  3. ทนายแคท Kat lawyer says:

    ข้อ 4 การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารต้องไม่มีลักษณะที่เป็นเท็จ

    หรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อโดยไม่สมควร ซึ่งอาจเข้าข่ายตามมาตรา 40 ดังนี้

    (1) ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง

    (2) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่าสามารถบำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค

    ความเจ็บป่วย หรืออาการของโรค

    (3) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่ามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของร่างกาย

    หน้าที่การทำงานของอวัยวะ หรือระบบการทำงานของร่างกาย

    (4) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่าบำรุงกาม บำรุงเพศ หรือเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์(5) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่าเพื่อบำรุงผิวพรรณหรือเพื่อความสวยงาม

    (6) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่ามีผลต่อการลดน้ำหนักหรือลดความอ้วน เว้นแต่กรณีอาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 121 (พ.ศ. 2532) เรื่อง อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการ

    ควบคุมน้ำหนัก ที่ได้รับอนุญาตจากส ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

    (7) ข้อความที่สื่อหรือแสดงให้เข้าใจว่ามีผลต่อการกระชับสัดส่วน ดักจับไขมัน หรือข้อความอื่นใด

    ในทำนองเดียวกัน

    (8) การโฆษณาที่มีการใช้หรืออ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ ที่ยังไม่ผ่านการประเมิน

    การกล่าวอ้างทางสุขภาพจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

    ทั้งนี้ ตัวอย่างการโฆษณาในลักษณะข้างต้น แสดงไว้ตามบัญชีหมายเลข 1 แนบท้ายประกาศนี้ข้อ 5 การโฆษณาในลักษณะดังต่อไปนี้ สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องนำมาให้พิจารณา

    อนุญาตก่อน

    (1) การให้ข้อมูลทางวิชาการที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในทางการค้า และไม่มีความเชื่อมโยงทำให้เข้าใจว่าเป็นการโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารใด ๆ แต่ทั้งนี้การให้ข้อมูลทางวิชาการดังกล่าวต้องมีการให้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องตามหลักวิชาการ มีหลักฐานอ้างอิง

    ที่เชื่อถือได้ เช่น แสดงทั้งข้อดี- ข้อเสีย ข้อควรระวัง เป็นต้น

    (2) การโฆษณาในลักษณะการเสนอภาพลักษณ์ของบริษัทหรือกิจการ (Corporate Image) (3) การโฆษณา เฉพาะที่เป็นลักษณะการโฆษณาที่เป็นการให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอาหาร

    อาจใช้ข้อความตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายหมายเลข 2 แนบท้ายประกาศนี้ ข้อความใดข้อความหนึ่ง

    หรือหลายข้อความได้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุเท่านั้น

    ทั้งนี้ การโฆษณาตามวรรคหนึ่ง หากมีข้อความอื่นที่เป็นการโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ

    หรือสรรพคุณของอาหารร่วมอยู่ด้วย ต้องยื่นคำขออนุญาตโฆษณาอาหารพร้อมเอกสารประกอบ

    การพิจารณาการกล่าวอ้างข้อความโฆษณาทั้งหมด เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะโฆษณาได้

  4. ทนายแคท Kat lawyer says:

    ข้อ 6 การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารดังต่อไปนี้ ต้องยื่นคำขอ

    อนุญาตโฆษณาอาหารเพื่อให้พิจารณาก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะโฆษณาได้

    (1) การโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหารที่ปรากฏบนฉลากที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

    หากต้องการกล่าวอ้างคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณอื่นใดนอกเหนือจากที่ได้รับอนุมัติ

    ต้องได้รับการประเมิน และต้องได้รับอนุมัติฉลากก่อน

    (2) การโฆษณากล่าวอ้างทางโภชนาการ หรือใช้คุณค่าของสารอาหารในการส่งเสริมการขาย

    ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ. 2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ

    (3) การกล่าวอ้างทางสุขภาพ (Health Claim) ที่นอกเหนือจาก (2) ที่ได้รับความเห็นชอบ

    จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้ว

    (4) การโฆษณาตามข้อ 5 ที่มีการแสดงคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณของอาหาร

    ถือว่าเป็นการโฆษณาที่ต้องนำมาขออนุญาต

    (5) การโฆษณานอกเหนือจากข้อ 5

    ทั้งนี้ การโฆษณาตามวรรคหนึ่ง อาจใช้ข้อความโฆษณาในบัญชีแนบท้ายหมายเลข ๓

    แนบท้ายประกาศนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ระบุไว้

    ข้อ 7 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยื่นคำขออนุญาตโฆษณาอาหาร (ดูรายละเอียดในคู่มือ

    ส าหรับประชาชน : การขออนุญาตโฆษณาอาหาร)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *