เนื้อหาของบทความนี้จะเกี่ยวกับเทศกาล สาด สี หากคุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับเทศกาล สาด สีมาวิเคราะห์กับSalcedo Marketในหัวข้อเทศกาล สาด สีในโพสต์โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64นี้.

ข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุดเกี่ยวกับเทศกาล สาด สีในโฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64

ชมวิดีโอด้านล่างเลย

ที่เว็บไซต์salcedomarket.orgคุณสามารถเพิ่มข้อมูลอื่นๆ นอกเหนือจากเทศกาล สาด สีเพื่อรับความรู้เพิ่มคุณค่าให้กับคุณ ในหน้าSalcedomarket เราอัปเดตเนื้อหาใหม่และถูกต้องทุกวันสำหรับคุณเสมอ, ด้วยความหวังที่จะให้ข่าวที่ดีที่สุดสำหรับคุณ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถอัพเดทข่าวสารออนไลน์ได้ครบถ้วนที่สุด.

เนื้อหาเกี่ยวกับหัวข้อเทศกาล สาด สี

“โฮลี” เป็นประเพณีของชาวฮินดูที่จัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะของเหล่าทวยเทพ ด้วยลีลาการเล่นที่สาดสีกันอย่างสนุกสนานทำให้หลายคนเชื่อว่านี่คืออิทธิพลที่อินเดียได้ส่งต่อไปยังเทศกาลสงกรานต์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่แท้จริงแล้วทั้งสองเทศกาลนี้มีต้นกำเนิดต่างกัน

ภาพบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของเทศกาล สาด สี

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64
โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64

นอกจากการดูเนื้อหาของบทความนี้แล้ว โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 คุณสามารถดูบทความเพิ่มเติมด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่

แท็กที่เกี่ยวข้องกับเทศกาล สาด สี

#โฮล #สาดส #ไมใชสงกรานต #ประวตศาสตรนอกตำรา #EP64.

[vid_tags].

โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64.

เทศกาล สาด สี.

เราหวังว่าการแบ่งปันที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณที่ติดตามเทศกาล สาด สีข่าวของเรา

36 thoughts on “โฮลี สาดสี ไม่ใช่สงกรานต์ I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.64 | เนื้อหาเทศกาล สาด สีที่มีรายละเอียดมากที่สุดทั้งหมด

  1. Suraphol Kruasuwan says:

    เทศกาล เริ่มต้นชีวิตใหม่
    เมื่อฤดูใบไม้ผลิ มาถึง
    .
    1.เทวนิยมแบบ กรีกโรมัน
    มีตำนานว่า
    เทวีแห่งฤดูใบไม้ผลิ
    ถูก เฮเดส จ้าวนรก บาดาล
    ขโมย นาง ไปเป็น ชายา
    ทุกชีวิต บนโลก เศร้า สลด
    หยุดกิจกรรม แห่งชีวิตชีวา
    .
    ซูส มหาเทพ จึงให้ เฮอร์เมส
    เทพสื่อสารไปเจรจา
    เฮเดส ยอมให้นาง มาสู่โลกได้
    แต่นางได้กินเมล็ดทับทิม
    ในแดนนี้ไปสามเมล็ด
    .
    นางจึงต้อง อยู่ ในแดนนี้ สามเดือน
    ตรงกับฤดูหนาวพอดี
    และ ทำให้โลกมีกิจกรรม ชีวิต
    แปดเดือน สลับกัน
    .
    จึงมีเทศกาลเฉลิมฉลอง
    รับการกลับมา ของ
    เทพธิดา ฤดูใบไม้ผลิ
    .
    2.ฮินดู
    การสิ้นชีวิตของ ในกองไฟ
    พระนางสตรี ปกป้องเกียรติ
    พระศิวะ
    .
    พระศิวะ บันดาลโทสะ
    ตัดหัวพ่อตา เอาหัวแพะใส่
    และ ไปเข้าฌาน ที่เชิงเขาไกรลาส
    มี นนทิ เฝ้าอยู่ ข้างๆ
    โลกเข้าสู่ฤดูหนาว
    อสูร เก็บเมฆ ไร้ฝน แห้งแล้ง
    .
    พรหมฤษี นารอด
    จึงชวน เทพวสันต์ฤดู
    คนธรรพ์ กามเทพ
    ไป ยั่วยุ และศรกามเทพ
    ทำให้พระศิวะ ลืมตาที่สาม ก่อน
    .
    ร่างกามเทพ จึงสลาย
    เป็น"อนงค์" แปลว่า ไม่มีร่าง
    แต่มีอำนาจ ดลใจ ให้
    สรรพชีวิต ติดในบ่วงกามรมณ์
    .
    จากนั้น ก็รู้ข่าวว่า
    นางสตรี ไปเกิดเป็นธิดาชาวเขา
    ของท้าวหิมาลัย พระนาง เมก้า
    (แสงสท้อนจากหิมะ)
    .
    จึงไปตามหา พบ พระแม่คงคา
    ที่เป็นพี่สาว นางบรรพตี
    ก่อน
    ขาวจั๊วะ คิดว่าใช่
    เริงระบำ จีบ
    ยั่วให้อยาก และจากไป
    เมื่อตัวจริงมา
    .
    และเมื่อพระนางบรรพตี
    ตัวดำ มา จำได้ จึงรู้ว่า
    จีบผิดตัว จึงอุทานว่า
    "อุเม่เหวย"
    .
    พระนางจึง ถอดชุดนอก
    ในกลายเป็นแสงสว่าง
    สู่สากล จักรวาล
    เหล่าเทวา จึงสาธุ
    ทำให้ พระนางมีฤทธิ์มากขึ้น
    ได้พระนามใหม่ว่า
    "มหาอุมาเทวี"
    .
    และได้กำเนิด ขันธกุมาร
    ไปปราบอสูร แห้งแล้ง
    เอาเมฆ ฝน คืนให้ โลก
    ซื่นฉ่ำ ทั่วหล้า
    .
    จึงมีการฉลอง ด้วยการ สาดสี
    .
    จริงๆ ฮินดู เอา วรรณกรรม
    เทวกรีก ที่เข้ามา
    เมื่อ200กว่าปี หลังพุทธกาล
    มา แปลงร่าง คืนชีพ
    ใส่ยำใหญ่ เป็นของตน
    เพื่อป้องกัน การถูกกลืนกิน
    เป็นลัทธิชาตินิยม แบบ อินเดีย
    .
    3.ตำนาน ของไทย
    และดินแดน เอเชียอาคเนย์
    เหมือนกัน คือ เรื่อง
    ท้าวกบิลพรหม ธิดาทั้งเจ็ด
    มีให้อ่านเยอะ ติดตามเองนะครับ
    .
    ส่วนตัว ชีวิต เป็นสิ่งปรุงแต่ง
    .
    *ปรุงด้วย ธรรมะ ที่คุกคาม
    ตนผู้อื่น วิบากกรรม
    ก็ ครอบงำชีวิต เรา
    .
    *ปรุงแต่ง ด้วย ธรรมะ ที่
    เอื้อเฟื้อ เกื้อกูล จากใจจริง
    วาสนา ก็จะ มาดูแลชีวิต
    ให้มีชีวา หาญกล้า
    ในทางให้คุณค่า
    .
    *ปรุงแต่งด้วย
    สติปัญญา ปรีชาญาณฉลาดเลือก
    .
    รู้ เคารพ ขอบคุณ ชื่นชม
    กฎ กติกา มารยาท ของธรรมชาติ
    และ วัฒนธรรม ท้องถิ่น
    และวาง ความทะนงตนลง
    ไม่เป็นทาส รสนิยม บริโภคนิยม
    .
    ก็ สุข สงบ เย็น เบิกบาน
    ขำๆกับ ลีลา มายา อนัตตา
    ของจักรวาล
    .
    ีมีความ สว่างไสว
    ในสติปัญญา อารมณ์
    มั่นคง ในชีวิต ตามอัตภาพ
    .
    ขอบคุณ เจ้าของ คลิป ข้อมูล
    .
    แข็งแรง ทุกด้าน โชคดีทุกคน
    และไม่ประมาท ใน
    กรรม เวลา มัจจุราช
    คนชั่ว ลัทธิ บริโภคนิยม นะครับ

  2. Sompong Moan says:

    ขอบคุณครับ🙏🏼ที่ให้ความรู้ความแตกต่างของเทศกาลโฮลีกับสงกรานต์ และชื่นชอบการทำงานของทีมงานนี้มากครับ👍👍

  3. Pimpa Faiyen says:

    จำได้ว่าสมัยเรียนที่อินเดียวันโฮลีคือวันที่สนุกและเลอะเทอะทั้งตัวด้วยสีมากๆ สีที่เขาใช้สาดเล่นซักไม่ออกอีกต่างหาก เข็ดเลยค่ะ

  4. bigrabbit says:

    เปิดโลกทรรศน์​ ทำให้มีวิสัยทัศน์​ ของความเป็นคนคือ "ประวัติศาสตร์​นอกตำรา"

  5. kitten as trophy says:

    ไปเจอวันปีใหม่อิหร่านใกล้เคียงกับช่วงสงกรานต์ของ ไทยและเพื่อนบ้าน ซึ้งเลยว่า สงกรานต์ของเรามาจากไหน ทำไมต้องจัดช่วงนี้ ทั้งๆที่อากาศไม่เอื้อ แต่เราปรับความเชื่อกับการฉลองไปใช้กับอย่างอื่นแทน

  6. จํารอง ศรีดามา says:

    เคยเห็นสารคดีเวียดนาม ที่ถ่ายทำพิธีเสนสอฝนของชาวไตดำ มีการลอยตัวเงือกลงแม่น้ำแล้วสาวๆจะลงเล่นน้ำต่อจากนั้นคนอื่นก็จะฉุดกันลงเล่นน้ำ ผมว่านี่ยังคล้ายสงกราน์เรามากกว่า

  7. Chattrin Pientam says:

    โฮลีอาจจะไม่ใช่ต้นกำเนิดของสงกรานต์โดยตรง​ แต่ทั้งสองเทศกาลก็มีความคล้ายกันในแง่ของเป็นการเปลี่ยนผ่านไปสู่ฤดูใหม่​ / ปีใหม่​ ผ่านจากหน้าหนาว​ / หน้าแล้ง​ อันเป็นตัวแทนของความตาย​ ไปสู่ฤดูแห่งการเพาะปลูก​ การงอกงาม​อันเป็นความหมาย​ของชีวิตใหม่​ รวมทั้งเทศกาลโนรุส หรือประเพณี​ปีใหม่ของชาวอิหร่าน​ ซึ่งเป็นกลุ่มเชื้อสายชาวอารยันเก่าแก่อีกกลุ่มหนึ่ง​ โดยกำหนดอยู่ในช่วงเดือนมีนาคม​เช่นกัน​ (ปัจจุบัน​ถูกกำหนดให้ตรงกับวันที่​ 21 มีนาคม​ของทุกปี)​ ผมจึงเห็นว่าเทศกาลเหล่านี้น่าจะมีที่มาต้นทางร่วมกัน​ ก่อนจะแยกย้ายกันไปในแต่ละพื้นที่​ ภูมิศาสตร์​ที่ต่างกัน​ ตำแหน่งทางดาราศาสตร์​ต่างกัน ก่อนจะมาหาวิธีคำนวน​ที่ต่างกัน​ ทางจันทรคติ​หรือสุริยคติ​ รวมทั้งเรื่องราวทางเทพปกรณัม​ที่เพิ่มเติมเข้ามาในภายหลังเพื่อความศักดิ์สิทธิ์​ยิ่งขึ้น

  8. Nutcha Ben says:

    เคยไปอินเดีบเจอเทศกาลนี้พอดีคะ
    ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความเชื่อ. น่าทึ่งตรงที่ต่างคนต่างอยู่ต่างใช้ชีวิตในรูปแบบของความเชื่อของใครของมัน ประชาธิปไตยทางความเชื่อให้ 100 % สำหรับอินเดียคะ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *